ขับเคลื่อนประชาธิปไตย
ร่วมเฝ้าดูความเคลื่อนไหวรัฐสภา
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: 24 มี.ค. 2562 - 24 ต.ค. 2567
นักการเมือง
นักการเมืองชุดล่าสุดที่น่าสนใจ
หมายเหตุ : ในกรณีที่มีมากกว่า 1 คน จะเลือกจากลำดับตัวอักษรในชื่อ
ขาดลงมติมากที่สุด
เสนอร่างกฎหมายเยอะที่สุด
อายุน้อยที่สุด
คัดเลือกโดยใช้แหล่งข้อมูลอื่นๆ
การลงมติ
5 ผลการลงมติล่าสุด
การเสนอกฎหมาย
รัฐออกกฏหมายอย่างไร?
เลือกดู
10 ฉบับล่าสุดที่ได้บังคับใช้
คำสัญญาทางการเมือง
ความคืบหน้าของคำสัญญาทางการเมือง
จากคำสัญญาของพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาลที่ได้ให้ไว้ในช่วงหาเสียงเลือกตั้งปี 2566 จำนวน 51 คำสัญญา
เราพบข้อมูลความคืบหน้า แต่ยังไม่บรรลุเป้าหมายที่ได้สัญญาไว้
เช่น
- เพิ่มโอกาสให้หนังไทย รัฐจะสนับสนุนหนังอิสระ เพื่อให้หนังอิสระเป็นพื้นที่ทดลองเทคนิคการเล่าเรื่องแนวใหม่ บ่มเพาะฝีมือ สร้างความหลากหลาย และเป็น R&D ให้หนังกระแสหลัก รัฐจะช่วยขยายตลาดหนังไทย และสนับสนุนหนังไทยไปเทศกาลภาพยนตร์ระดับโลก,หนังไทยได้ฉาย ไม่ถูกกีดกัน หนังไทย-ท้องถิ่น ต้องมีรอบฉาย ไม่ถูกกัดกัน โดยรัฐจะเข้าสนับสนุนด้วยการเช่าโรงภาพยนตร์ของเอกชนเพื่อฉายหนังไทย-ท้องถิ่น,เลิกมาตรการเซนเซอร์ ไม่มีคำว่า “ห้ามฉาย” อีกต่อไป ยกเลิกมาตรการเซนเซอร์หนังอย่างเด็ดขาด ปลดปล่อยและคุ้มครองเสรีภาพทำคนหนังอย่างเต็มที่ ผ่านการแก้กฎกระทรวง ทำได้ภายใน 100 วัน,เพิ่มช่องทางหาทุนสร้างหนัง เปิดโอกาสให้คนทำหนังเข้าถึงเงินทุน เช่น สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำได้ง่ายขึ้นโดยให้สามารถใช้สัญญาจ้างสร้างหนังเป็นหลักประกัน และเปิดช่องทางระดมทุนทางอื่นให้คนสร้างหนังสามารถระดมทุนในช่องทางที่หลากหลายได้,กองทุนภาพยนตร์ เพิ่มโอกาสคนทำหนัง จะเป็นกองทุนเพื่อสนับสนุนผู้ผลิตหนังที่ครอบคลุมทั้งหนังอิสระและหนังกระแสหลัก
- จัดทำ “รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” โดยคงรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนและผ่านขั้นตอนการออกเสียงลงประชามติโดยประชาชน
- เร่งรัดการ “การพิสูจน์สิทธิ์ เพื่อให้ได้มาซึ่งโฉนด อย่างถูกต้องและเป็นธรรม” ด้วยการใช้หลักฐานภาพถ่ายจากดาวเทียม และ/หรือหลักฐานอื่นซึ่งเป็นที่ยอมรับของผู้เกี่ยวข้อง
เราพบข้อมูลความคืบหน้า และข้อมูลที่ชี้ว่าได้บรรลุเป้าหมายที่ได้สัญญาไว้แล้ว
เราพบข้อมูลความคืบหน้า ที่ชี้ว่ามีการเลิกดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายตามคำสัญญานี้แล้ว
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ