พระราชบัญญัติยกเลิกคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 14/2559 เรื่อง คณะกรรมการที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการกำหนดอำนาจหน้าที่ของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ลงวันที่ 4 เมษายน พุทธศักราช 2559
ชื่อทางการ พระราชบัญญัติยกเลิกคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 14/2559 เรื่อง คณะกรรมการที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการกำหนดอำนาจหน้าที่ของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ลงวันที่ 4 เมษายน พุทธศักราช 2559
14 ก.พ. 67

รอมฎอน ปันจอร์ สส. ชุดที่ 26 (2566)
พรรคก้าวไกลการบริหารจัดการพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาและการสร้างสันติภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ประสบปัญหาและข้อขัดข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การจำกัดการมีส่วนร่วมของประชาชน เนื่องจาก รูปแบบและบทบาทของคณะกรรมการ ที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๔/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๙ ไม่สามารถสะท้อนความเป็นตัวแทนของประชาชน ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จึงไม่เหมาะสมแก่สถานการณ์ในพื้นที่และการแก้ไขปัญหาโดยภาพรวม
เส้นทางกฎหมาย
-
18 พ.ย. 67
ออกเป็นกฎหมาย -
18 พ.ย. 67
ออกเป็นกฎหมาย - สว.พิจารณา วาระ 3
พิจารณาให้ความเห็นชอบ
- สว.พิจารณา วาระ 3
พิจารณาให้ความเห็นชอบ
- สว.พิจารณา วาระ 2
อยู่ระหว่างการพิจารณา
- สว.พิจารณา วาระ 2
อยู่ระหว่างการพิจารณา
- สว.พิจารณา วาระ 1
รับร่าง พ.ร.บ. ไว้พิจารณา
- สว.พิจารณา วาระ 1
รับร่าง พ.ร.บ. ไว้พิจารณา
-
10 ก.ค. 67
สส.พิจารณา วาระ 2ขั้นกรรมาธิการ และ สส.ลงมติรับรายมาตรา
-
10 ก.ค. 67
สส.พิจารณา วาระ 3ขั้นลงมติเห็นชอบ
-
10 ก.ค. 67
สส.พิจารณา วาระ 2ขั้นกรรมาธิการ และ สส.ลงมติรับรายมาตรา
-
10 ก.ค. 67
สส.พิจารณา วาระ 3ขั้นลงมติเห็นชอบ
-
10 ก.ค. 67
สส.พิจารณา วาระ 2ขั้นกรรมาธิการ และ สส.ลงมติรับรายมาตรา
-
10 ก.ค. 67
สส.พิจารณา วาระ 3ขั้นลงมติเห็นชอบ
-
21 ก.พ. 67
สส.พิจารณา วาระ 1รับหลักการและตั้งกรรมาธิการ
-
21 ก.พ. 67
สส.พิจารณา วาระ 1รับหลักการและตั้งกรรมาธิการ
-
21 ก.พ. 67
สส.พิจารณา วาระ 1รับหลักการและตั้งกรรมาธิการ
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ