5 พ.ย. 62 - 10 ก.ค. 67
ที่มา
มาจากการแต่งตั้งตามกระบวนการพิเศษ หลังการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2566 ประกอบด้วยสมาชิก (ส.ว.) 250 คน โดย 244 คนมาจากการสรรหา และอีก 6 คนเป็นสมาชิกโดยตำแหน่ง
เพศสภาพ
ดูรายชื่อ
ชาย
90%
เลือกโดย คสช. 178 คน
เลือกกันเอง 41 คน
โดยตำแหน่ง 1 คน
หญิง
10%
เลือกโดย คสช. 16 คน
เลือกกันเอง 9 คน
รุ่นอายุ
ดูรายชื่อ
56-70 ปี
64%
เลือกโดย คสช. 128 คน
เลือกกันเอง 27 คน
โดยตำแหน่ง 1 คน
71 ปีขึ้นไป
33%
เลือกโดย คสช. 64 คน
เลือกกันเอง 18 คน
ไม่พบข้อมูล
2%
เลือกกันเอง 3 คน
เลือกโดย คสช. 1 คน
41-55 ปี
1%
เลือกกันเอง 2 คน
เลือกโดย คสช. 1 คน
การศึกษา
ดูรายชื่อ
ปริญญาโท
60%
เลือกโดย คสช. 116 คน
เลือกกันเอง 31 คน
ปริญญาเอก
12%
เลือกโดย คสช. 27 คน
เลือกกันเอง 3 คน
ปริญญาตรี
12%
เลือกโดย คสช. 22 คน
เลือกกันเอง 7 คน
สถาบันทหาร
11%
เลือกโดย คสช. 25 คน
โดยตำแหน่ง 1 คน
เลือกกันเอง 1 คน
ต่ำกว่าปริญญาตรี
3%
เลือกกันเอง 7 คน
เลือกโดย คสช. 1 คน
ไม่พบข้อมูล
2%
เลือกโดย คสช. 3 คน
เลือกกันเอง 1 คน
22 ส.ค. 66
เลือก เศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกฯ
เห็นด้วย
482 /748
สส.ฝ่ายรัฐบาล
330 /499
สว.
152 /249
19 ก.ค. 66
ขอให้รัฐสภาตีความข้อบังคับฯ เสนอชื่อนายกฯ ซ้ำ
ไม่เห็นด้วย
317 /748
สส.ฝ่ายรัฐบาล
309 /499
สว.
8 /249
13 ก.ค. 66
เลือก พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ เป็นนายกฯ
ไม่เห็นด้วย
182 /749
สส.ฝ่ายรัฐบาล
148 /500
สว.
34 /249
21 ก.พ. 66
ลงมติกรณี ส.ส. มีมติให้รัฐสภาส่งเรื่องที่ควรออกเสียงประชามติให้ ครม. ดำเนินการ
ไม่เห็นด้วย
157 /183
สว.
157 /183
9 ก.พ. 66
ร่าง พ.ร.บ. ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ (วาระ 3)
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ