ตั้ง กมธ. วิสามัญ ตรวจสอบละเมิดสิทธิมนุษยชน
ชื่อทางการ
ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อตรวจ สอบและศึกษา ติดตามการทำงานของหน่วยงานภาครัฐ ต่อการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนและถูกประทุษร้ายของประชาชน
สรุปเนื้อหา
ญัตติการตั้ง กมธ. วิสามัญ ตรวจสอบละเมิดสิทธิมนุษยชน สืบเนื่องมาจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนและถูกประทุษร้ายของประชาชน โดยเฉพาะปัญหาความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ส.ส. หลายพรรคเห็นว่าเกิดจากข้อผิดพลาดเรื่องการกำหนดนโยบายรัฐบาลทั้งอดีตและปัจจุบัน รวมถึงการละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่มีการละเมิดสิทธิการเคลื่อนไหวการต่อสู้ เพื่อเรียกร้องสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญทั่วประเทศนั้นก็เกิดขึ้นบ่อยครั้ง แต่กลับหาตัวผู้ทำผิดหรือผู้อยู่เบื้องหลังมาลงโทษไม่ได้ สภาผู้แทนราษฎร จึงเห็นชอบตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อตรวจ สอบและศึกษา ติดตามการทำงานของหน่วยงานภาครัฐต่อการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนและถูกประทุษร้ายของประชาชน เพื่อตรวจสอบและติดตาม
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
414
เห็นด้วย
411
ไม่เห็นด้วย
0
งดออกเสียง
2
ไม่ลงคะแนน
1
ลา / ขาดลงมติ
0
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
218 คน
216 คน
เห็นด้วย
216
2
ประชาธิปัตย์
43 คน
42
1
ภูมิใจไทย
50 คน
49
1
พลังประชารัฐ
93 คน
93
พลังท้องถิ่นไท
2 คน
2
เพื่อชาติไทย
1 คน
1
ชาติไทยพัฒนา
9 คน
9
ชาติพัฒนากล้า
3 คน
3
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
2
รวมแผ่นดิน
1 คน
1
พลังปวงชนไทย
1 คน
1
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ประชาธรรมไทย
1 คน
1
รวมพลัง
3 คน
3
เศรษฐกิจใหม่
4 คน
4
ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1
พลังธรรมใหม่
1 คน
1
ประชาภิวัฒน์
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
194 คน
193 คน
เห็นด้วย
193
1
เพื่อไทย
106 คน
105
1
ประชาชาติ
5 คน
5
อนาคตใหม่
67 คน
67
ก้าวไกล
2 คน
2
เสรีรวมไทย
9 คน
9
เพื่อชาติ
5 คน
5
สส.ไม่ทราบฝ่าย
1 คน
1 คน
เห็นด้วย
1
เราทำได้
1 คน
1
* ข้อมูลการสังกัดพรรคและฝ่ายในสภาฯ ยึดตามข้อมูล ณ วันที่ลงมติ ซึ่งเป็นไปได้ว่าในวันนั้นมีอาจสส.ที่ไม่มีสังกัดพรรคร่วมลงมติ เพราะอาจอยู่ระหว่างการย้ายพรรคการเมือง หรือเพิ่งโดนขับออกจากพรรค เป็นต้น ตามรัฐธรรมนูญ 60 สส. ต้องสังกัดพรรคใหม่ภายใน 30 วัน ในกรณีที่ถูกขับออก และ 60 วันในกรณียุบพรรค ไม่เช่นนั้นจะพ้นสภาพ
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ