ร่าง พ.ร.บ. งบประมาณ 2563 (วาระ 3) รอบที่ 1
ชื่อทางการ
ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
สรุปเนื้อหา
ร่าง พ.ร.บ.งบประมาณ ปี 2563 มีวงเงิน 3,200,000 ล้านบาท ร่างดังกล่าว มีทั้งสิ้น 55 มาตรา โดยสภาได้ทำการปรับลดงบประมาณจากกระทรวงต่างๆ รวมกว่า 16,231 ล้านบาท เพื่อนำไปจัดสรรให้กับส่วนราชการ และองค์กรอิสระแทน ทั้งนี้ ประเด็นที่มีการอภิปรายมากที่สุดคือ งบประมาณในสัดส่วนรายกระทรวง โดยเฉพาะกระทรวงกลาโหม ที่กรรมาธิการ (กมธ.) วิสามัญเพื่อพิจารณางบประมาณฯ ปรับลดมากที่สุดกว่า 1,518 ล้านบาท
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
711
เห็นด้วย
510
ไม่เห็นด้วย
1
งดออกเสียง
199
ไม่ลงคะแนน
1
ลา / ขาดลงมติ
0
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
511 คน
503 คน
เห็นด้วย
503
8
ประชาธิปัตย์
101 คน
99
2
พลังประชารัฐ
229 คน
227
2
ภูมิใจไทย
100 คน
98
2
พลังท้องถิ่นไท
10 คน
10
รวมพลัง
10 คน
10
เพื่อชาติไทย
2 คน
2
ชาติไทยพัฒนา
22 คน
22
ชาติพัฒนากล้า
5 คน
5
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
4 คน
4
รวมแผ่นดิน
2 คน
2
พลังปวงชนไทย
1 คน
1
เศรษฐกิจใหม่
11 คน
10
1
ครูไทยเพื่อประชาชน
2 คน
2
ประชาธรรมไทย
2 คน
2
ไทยศรีวิไลย์
2 คน
2
ประชานิยม
2 คน
2
พลังธรรมใหม่
2 คน
2
ประชาภิวัฒน์
2 คน
2
ประชาธิปไตยใหม่
2 คน
2
สส.ฝ่ายค้าน
196 คน
191 คน
งดออกเสียง
3
1
191
1
เพื่อไทย
116 คน
1
114
1
ประชาชาติ
8 คน
2
6
อนาคตใหม่
59 คน
1
58
ก้าวไกล
2 คน
2
เสรีรวมไทย
6 คน
6
เพื่อชาติ
5 คน
5
สส.ไม่ทราบฝ่าย
2 คน
2 คน
เห็นด้วย
2
เราทำได้
2 คน
2
* ข้อมูลการสังกัดพรรคและฝ่ายในสภาฯ ยึดตามข้อมูล ณ วันที่ลงมติ ซึ่งเป็นไปได้ว่าในวันนั้นมีอาจสส.ที่ไม่มีสังกัดพรรคร่วมลงมติ เพราะอาจอยู่ระหว่างการย้ายพรรคการเมือง หรือเพิ่งโดนขับออกจากพรรค เป็นต้น ตามรัฐธรรมนูญ 60 สส. ต้องสังกัดพรรคใหม่ภายใน 30 วัน ในกรณีที่ถูกขับออก และ 60 วันในกรณียุบพรรค ไม่เช่นนั้นจะพ้นสภาพ
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ