ตั้ง กมธ.ศึกษาปัญหา "อีอีซี"
ชื่อทางการ
ญัตติด่วน ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาและตรวจสอบผลกระทบจากการดำเนินโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) การวางผังเมือง และการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง
สรุปเนื้อหา
ญัตติการตั้ง กมธ.ศึกษาปัญหา "อีอีซี" เป็นญัตติที่เสนอโดยพรรคอนาคตใหม่ ประชาธิปัตย์ และพลังประชารัฐ เนื่องจากเห็นว่า โครงการอีอีซี ที่ริเริ่มหลังการรัฐประหาร ปี 2557 เพื่อดึงดูดนักลงทุนต่างชาติมาลงทุนในประเทศไทยในพื้นที่สามจังหวัดภาคตะวันออก ได้แก่ ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา เป็นโครงการที่สร้างผลกระทบประเทศและชุมชน โครงการอีอีซีใช้การมอบสิทธิประโยชน์ทางเศรษฐกิจเป็นพิเศษให้กับนักลงทุนจากต่างชาติ อีกทั้งยังทำการผ่อนปรนมาตรการกำกับดูแลชุมชนและสิ่งแวดล้อมจากการทำโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่ ด้วยเหตุนี้ จึงทำให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อน ทั้งจากราคาที่ดินหรือราคาเช่าที่ดินที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจากการเก็งกำไรที่ดิน รวมถึงชุมชนและสิ่งแวดล้อมต่างได้รับผลกระทบจากการผ่อนปรนมาตรการคุ้มครองการประกอบกิจการโรงงานหรืออุตสาหกรรมทำให้ประชาชนมีความกังวลเรื่องการปนเปื้อนของมลพิษจากอุตสาหกรรม เป็นต้น
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
456
เห็นด้วย
223
ไม่เห็นด้วย
231
งดออกเสียง
2
ไม่ลงคะแนน
0
ลา / ขาดลงมติ
0
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
240 คน
229 คน
ไม่เห็นด้วย
9
229
2
ประชาธิปัตย์
44 คน
2
41
1
ภูมิใจไทย
48 คน
47
1
พลังประชารัฐ
112 คน
112
พลังท้องถิ่นไท
3 คน
3
รวมพลัง
5 คน
5
เพื่อชาติไทย
1 คน
1
ชาติไทยพัฒนา
10 คน
10
ชาติพัฒนากล้า
3 คน
3
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
2
รวมแผ่นดิน
1 คน
1
พลังปวงชนไทย
1 คน
1
ประชาธรรมไทย
1 คน
1
เศรษฐกิจใหม่
5 คน
5
ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1
ประชานิยม
1 คน
1
ประชาภิวัฒน์
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
215 คน
214 คน
เห็นด้วย
214
1
เพื่อไทย
120 คน
119
1
ประชาชาติ
7 คน
7
อนาคตใหม่
73 คน
73
ก้าวไกล
2 คน
2
เสรีรวมไทย
8 คน
8
เพื่อชาติ
5 คน
5
สส.ไม่ทราบฝ่าย
1 คน
1 คน
ไม่เห็นด้วย
1
เราทำได้
1 คน
1
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ