ตั้ง กมธ.ศึกษาปัญหาสารเคมีเกษตรฯ
ชื่อทางการ
ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการควบคุมการใช้สารเคมีในภาคเกษตรกรรม
สรุปเนื้อหา
ญัตติตั้ง กมธ.ศึกษาปัญหาสารเคมีเกษตรฯ สืบเนื่องมาจากปัญหาการใช้สารเคมีในภาคการเกษตร เช่น พาราควอต ไกลโฟเซต และคลอร์ไพริฟอส ซึ่งมีรายงานการศึกษาว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพของคนไทยจึงเสนอให้ตั้งคณะกรรมธิการวิสามัญเพื่อศึกษาแนวทางการควบคุมการใช้สารเคมีดังกล่าว โดยสภามีมติเห็นชอบกับญัตติดังกล่าวและมีการตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญจำนวน 44 คน ประกอบไปด้วยสัดส่วนจากพรรคการเมืองฝ่ายค้านและรัฐบาลรวมกัน จำนวน 39 คน และสัดส่วนจากคณะรัฐมนตรี จำนวน 5 คน และมีระยะเวลาพิจารณาศึกษาเป็นเวลา 60 วัน
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
400
เห็นด้วย
400
ไม่เห็นด้วย
0
งดออกเสียง
0
ไม่ลงคะแนน
0
ลา / ขาดลงมติ
0
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
197 คน
197 คน
เห็นด้วย
197
พลังประชารัฐ
90 คน
90
ภูมิใจไทย
46 คน
46
ประชาธิปัตย์
29 คน
29
พลังท้องถิ่นไท
2 คน
2
รวมพลัง
5 คน
5
ชาติไทยพัฒนา
10 คน
10
ชาติพัฒนากล้า
3 คน
3
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
2
พลังปวงชนไทย
1 คน
1
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ประชาธรรมไทย
1 คน
1
เศรษฐกิจใหม่
4 คน
4
ประชานิยม
1 คน
1
พลังธรรมใหม่
1 คน
1
ประชาภิวัฒน์
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
203 คน
203 คน
เห็นด้วย
203
เพื่อไทย
113 คน
113
ประชาชาติ
4 คน
4
อนาคตใหม่
72 คน
72
ก้าวไกล
2 คน
2
เสรีรวมไทย
9 คน
9
เพื่อชาติ
3 คน
3
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ