ร่าง พ.ร.บ. ประชามติ (วาระ 1)
สรุปเนื้อหา
ร่างพ.ร.บ.ประชามติฯ ที่เสนอโดยคณะรัฐมนตรี มีสาระสำคัญ คือ การกำหนดวิธีการออกเสียงประชามติตามรัฐธรรมนูญ โดยแบ่งออกเป็นการทำประชาชนเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ ซึ่งในรัฐธรรมนูญ มาตรา 256 (8) กำหนดว่า กรณีที่มีการแก้บทบัญญัติใน หมวด 1 บททั่วไป หมวด 2 พระมหากษัตริย์ หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ หรือบทบัญญัติอื่นๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับคุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามของผู้ดำรงตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญ เรื่องที่เกี่ยวกับหน้าที่หรืออำนาจของศาล องค์กรอิสระ หรือเรื่องที่ทำให้ศาลหรือองค์กรอิสระไม่อาจปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ได้ ต้องจัดทำประชามติ กับอีกกรณีคือ การออกเสียงประชามติเมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นว่ามีเหตุอันสมควร โดยไม่ได้มีการระบุขอบเขตของเรื่องไว้ว่าจะทำได้ในกรณีใดบ้าง แต่ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 166 ได้กำหนดว่า กรณีที่มีเหตุอันสมควร คณะรัฐมนตรีจะขอให้มีการออกเสียงประชามติในเรื่องใดที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือเรื่องที่เกี่ยวกับตัวบุคคลหรือคณะบุคคลใดก็ได้ ดังนั้นการจัดทำประชามติที่ริเริ่มโดยคณะรัฐมนตรี จึงต้องเป็นเรื่องที่ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญด้วย
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
738
เห็นด้วย
561
ไม่เห็นด้วย
2
งดออกเสียง
50
ไม่ลงคะแนน
0
ลา / ขาดลงมติ
125
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
277 คน
247 คน
เห็นด้วย
247
1
29
พลังประชารัฐ
121 คน
110
1
10
ภูมิใจไทย
61 คน
58
3
ประชาธิปัตย์
51 คน
44
7
ชาติไทยพัฒนา
12 คน
8
4
เศรษฐกิจใหม่
6 คน
5
1
พลังท้องถิ่นไท
5 คน
4
1
ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1
ไทรักธรรม
1 คน
1
เพื่อชาติไทย
1 คน
1
รวมพลัง
5 คน
5
ชาติพัฒนากล้า
4 คน
4
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
2
รวมแผ่นดิน
1 คน
1
พลังปวงชนไทย
1 คน
1
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ประชาธรรมไทย
1 คน
1
พลังธรรมใหม่
1 คน
1
ประชาภิวัฒน์
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
210 คน
106 คน
เห็นด้วย
106
1
49
54
เพื่อไทย
135 คน
89
1
3
42
ก้าวไกล
53 คน
46
7
เสรีรวมไทย
10 คน
8
2
ประชาชาติ
7 คน
6
1
เพื่อชาติ
5 คน
3
2
สส.ไม่ทราบฝ่าย
1 คน
1 คน
เห็นด้วย
1
เราทำได้
1 คน
1
สว.
250 คน
207 คน
เห็นด้วย
207
1
42
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ