ร่าง พ.ร.บ. ประชามติ (วาระ 3)
สรุปเนื้อหา
ร่าง พ.ร.บ.ประชามติฯ ที่ผ่านครั้งนี้ มีสาระสำคัญคือ 1.เปิดทางให้ทำประชามติ (ซึ่งประชาชนสามารถเข้าชื่อ 50,000 ชื่อ เสนอ ครม. ให้ความเห็นชอบทำประชามติได้) 2.ใช้เขตจังหวัดแบบเขตการเลือกตั้งส.ส.เป็นเขตลงประชามติ 3.เปิดทางให้ใช้สิทธิออกเสียงประชามตินอกราชอาณาจักรได้เป็นครั้งแรก 4.เปิดทางให้ลงคะแนนผ่านไปรษณีย์ และลงคะแนนด้วยเครื่องลงคะแนนอิเล็กรอนิกส์ 5.ในการผ่านประชามติ ต้องใช้คะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของผู้มีสิทธิออกเสียง และมีเสียงเกินกึ่งหนึ่งผู้มาใช้สิทธิออกเสียง 6.กำหนดให้ผู้มีสิทธิออกเสียงประชามติ ต้องมีสัญชาติไทย, อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีในวันออกเสียง และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตออกเสียงไม่น้อยกว่า 90 วัน 7.กำหนดให้เผยแพร่สาระสำคัญ เรื่องที่จะทำประชามติให้ประชาชนทราบภายใน 15 วัน และทำเอกสารส่งให้เจ้าบ้านภายใน 30 วัน 8.สิทธิและเสรีภาพในการรณรงค์การออกเสียง 9.กำหนดบทลงโทษต่าง ๆ 10.ห้ามเผยแพร่ผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน (โพล) เกี่ยวกับการออกเสียงในเวลา 7 วันก่อนวันออกเสียง จนสิ้นสุดเวลาออกเสียง
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
733
เห็นด้วย
611
ไม่เห็นด้วย
4
งดออกเสียง
2
ไม่ลงคะแนน
1
ลา / ขาดลงมติ
115
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
272 คน
231 คน
เห็นด้วย
231
1
40
พลังประชารัฐ
119 คน
100
19
ภูมิใจไทย
61 คน
56
5
ประชาธิปัตย์
48 คน
40
8
ชาติไทยพัฒนา
12 คน
8
1
3
เศรษฐกิจใหม่
6 คน
6
พลังท้องถิ่นไท
5 คน
3
2
รวมพลัง
5 คน
4
1
ชาติพัฒนากล้า
4 คน
4
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
2
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1
ไทรักธรรม
1 คน
1
ประชาธรรมไทย
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
ประชาภิวัฒน์
1 คน
1
รวมแผ่นดิน
1 คน
1
เพื่อชาติไทย
1 คน
1
พลังธรรมใหม่
1 คน
1
พลังปวงชนไทย
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
209 คน
166 คน
เห็นด้วย
166
43
เพื่อไทย
134 คน
101
33
ก้าวไกล
53 คน
49
4
เสรีรวมไทย
10 คน
7
3
ประชาชาติ
7 คน
5
2
เพื่อชาติ
5 คน
4
1
สส.ไม่ทราบฝ่าย
2 คน
1 คน
เห็นด้วย
1
1
เศรษฐกิจไทย
1 คน
1
เราทำได้
1 คน
1
สว.
250 คน
213 คน
เห็นด้วย
213
4
2
31
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ