ร่าง พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (วาระ 3)
ชื่อทางการ
ร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
สรุปเนื้อหา
"ร่าง พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม กำหนดให้สำนักนายกรัฐมนตรีมีอำนาจในการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรที่ดินของประเทศ และจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการนโยบายที่ดินให้เป็นส่วนราชการระดับกรมในสำนักนายกรัฐมนตรี นอกจากนี้ ให้โอนอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย และบรรดากิจการ ทรัพย์สิน งบประมาณ รวมถึงกำลังพลของกองแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐภายใต้สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกองบริหารจัดการที่ดิน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เฉพาะส่วนที่ไม่เกี่ยวกับคณะกรรมการจัดที่ดินไปเป็นของสำนักงานคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ และให้โอนอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย และบรรดากิจการ ทรัพย์สิน งบประมาณ รวมถึงกำลังพลของกองบริหารจัดการที่ดิน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เฉพาะส่วนที่ไม่เกี่ยวกับคณะกรรมการจัดที่ดินไปเป็นของกรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย"
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
740
เห็นด้วย
520
ไม่เห็นด้วย
6
งดออกเสียง
52
ไม่ลงคะแนน
0
ลา / ขาดลงมติ
162
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
277 คน
239 คน
เห็นด้วย
239
2
36

พลังประชารัฐ
121 คน
105
16

ภูมิใจไทย
61 คน
57
4

ประชาธิปัตย์
51 คน
44
1
6

ชาติไทยพัฒนา
12 คน
8
4

เศรษฐกิจใหม่
6 คน
5
1

พลังท้องถิ่นไท
5 คน
2
3

รวมพลัง
5 คน
4
1

เพื่อชาติไทย
1 คน
1

ชาติพัฒนากล้า
4 คน
4

รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
2

รวมแผ่นดิน
1 คน
1

พลังปวงชนไทย
1 คน
1

ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1

ประชาธรรมไทย
1 คน
1

ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1

พลังธรรมใหม่
1 คน
1

ประชาภิวัฒน์
1 คน
1

ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1

ไทรักธรรม
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
210 คน
93 คน
ลา / ขาดลงมติ
61
6
50
93

เพื่อไทย
135 คน
59
76

ก้าวไกล
53 คน
42
11

เสรีรวมไทย
10 คน
1
6
3

ประชาชาติ
7 คน
6
1

เพื่อชาติ
5 คน
1
2
2
สส.ไม่ทราบฝ่าย
1 คน
1 คน
เห็นด้วย
1

เราทำได้
1 คน
1
สว.
252 คน
219 คน
เห็นด้วย
219
33
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ