ร่าง พ.ร.บ. วัตถุอันตราย (วาระ 1)
ชื่อทางการ
ร่างพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย
สรุปเนื้อหา
"ร่าง พ.ร.บ.วัตถุอันตราย มีสาระสำคัญคือ การอนุญาตให้หน่วยงานผู้รับผิดชอบเพื่อออกใบอนุญาตสำหรับวัตถุอันตราย เช่น สารเคมีอันตราย สามารถให้ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศทำหน้าที่ในการประเมินเอกสารทางวิชาการ การตรวจวิเคราะห์ การตรวจสถานประกอบการ หรือตรวจสอบกระบวนการพิจารณาวัตถุอันตรายทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคด้วยได้ โดยบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรที่ได้รับมอบหมายต้องขึ้นบัญชีไว้กับหน่วยงานผู้รับผิดชอบ นอกจากนี้ ยังกำหนดให้กระบวนการรับรองคำขอ หนือกระบวนการพิจารณาวัตถุอันตราย หรือกระบวนการได้มาซึ่งผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศที่ได้ดำเนินการตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 77/2559 ให้ถือเป็นการดำเนินการตาม ร่าง พ.ร.บ.วัตถุอันตราย "
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
487
เห็นด้วย
254
ไม่เห็นด้วย
71
งดออกเสียง
3
ไม่ลงคะแนน
4
ลา / ขาดลงมติ
155
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
277 คน
233 คน
เห็นด้วย
233
7
2
4
31

พลังประชารัฐ
121 คน
110
1
2
8

ภูมิใจไทย
61 คน
52
5
1
3

ประชาธิปัตย์
51 คน
40
1
1
9

ชาติไทยพัฒนา
12 คน
8
4

เศรษฐกิจใหม่
6 คน
4
2

พลังท้องถิ่นไท
5 คน
5

รวมพลัง
5 คน
4
1

ชาติพัฒนากล้า
4 คน
4

รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
1
1

ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1

ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1

ไทรักธรรม
1 คน
1

ประชาธรรมไทย
1 คน
1

ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1

ประชาภิวัฒน์
1 คน
1

เพื่อชาติไทย
1 คน
1

รวมแผ่นดิน
1 คน
1

พลังธรรมใหม่
1 คน
1

พลังปวงชนไทย
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
209 คน
124 คน
ลา / ขาดลงมติ
20
64
1
124

เพื่อไทย
134 คน
18
14
102

ก้าวไกล
53 คน
43
1
9

เสรีรวมไทย
10 คน
2
4
4

ประชาชาติ
7 คน
3
4

เพื่อชาติ
5 คน
5
สส.ไม่ทราบฝ่าย
1 คน
1 คน
เห็นด้วย
1

เราทำได้
1 คน
1
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ