ร่าง พ.ร.บ. สหกรณ์ (วาระ 1)
ชื่อทางการ
ร่างพระราชบัญญัติสหกรณ์
สรุปเนื้อหา
ร่าง พ.ร.บ.สหกรณ์ มาจากการเข้าชื่อเสนอโดย พลโท วีระ วงศ์สรรค์ กับประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 11,808 คน เนื่องจาก พ.ร.บ.สหกรณ์ พ.ศ.2542 ใช้บังคับมาเป็นระยะเวลานาน ไม่เหมาะสมกับปัจจุบัน ไม่เอื้อต่อการส่งเสริม พัฒนา และคุ้มครองระบบสหกรณ์ที่มีหลักการในการช่วยเหลือเกื้อกูลระหว่างสมาชิกและสหกรณ์ด้วยกัน (ผลการลงมติวาระที่ 1 ทีประชุมมีมติไม่รับหลักการ) มีการเสนอแก้ไขนิยามชุมนุมสหกรณ์และสมาชิกสมทบ หมายถึง สหกรณ์ตั้งแต่ห้าสหกรณ์ขึ้นไปประสงค์จะร่วมกันดำเนินกิจการ และสมาชิกสมทบ ให้หมายถึง บุคคลธรรมดาที่บรรลุนิติภาวะแต่ขาดคุณสมบัติในการเป็นสมาชิกสหกรณ์ และบุคคลธรรมดาซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ เพิ่มอำนาจหน้าที่ให้คณะกรรมการพัฒนาสหกรณ์แห่งชาติ สนับสนุนและสร้างเสถียรภาพระบบสหกรณ์และดำรงเงินกองทุนอื่นๆ ให้แก่ระบบสหกรณ์ประเภทต่าง ๆ สามารถตั้งคณะอนุกรรมการต่างๆ ได้ เพิ่มเติมให้สมาชิกสหกรณ์มีส่วนร่วมเป็นกรรมการเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องและปัญหาต่างๆ ที่เกิดจากการดำเนินการในสหกรณ์นั้น ๆ เพิ่มเติมประเภทสหกรณ์ ลักษณะ วัตถุประสงค์และขอบเขตการดำเนินกิจการสหกรณ์แต่ละประเภท เพิ่มเติมการจัดตั้งชุมนุมสหกรณ์ระดับจังหวัด ภูมิภาค ระดับประเทศ และอำนาจกระทำการของชุมนุมสหกรณ์ระดับต่างๆ
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
475
เห็นด้วย
86
ไม่เห็นด้วย
235
งดออกเสียง
1
ไม่ลงคะแนน
0
ลา / ขาดลงมติ
153
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
266 คน
227 คน
ไม่เห็นด้วย
7
227
1
31

พลังประชารัฐ
116 คน
109
7

ภูมิใจไทย
59 คน
1
55
1
2

ประชาธิปัตย์
48 คน
2
36
10

ชาติไทยพัฒนา
12 คน
9
3

เศรษฐกิจใหม่
6 คน
3
3

พลังท้องถิ่นไท
5 คน
3
2

รวมพลัง
5 คน
4
1

ชาติพัฒนากล้า
4 คน
4

รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
2

ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1

ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1

ไทรักธรรม
1 คน
1

ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1

ประชาภิวัฒน์
1 คน
1

รวมแผ่นดิน
1 คน
1

พลังธรรมใหม่
1 คน
1

พลังปวงชนไทย
1 คน
1

เพื่อชาติไทย
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
207 คน
122 คน
ลา / ขาดลงมติ
79
6
122

เพื่อไทย
132 คน
53
79

ก้าวไกล
52 คน
21
5
26

เสรีรวมไทย
10 คน
4
6

ประชาชาติ
7 คน
1
6

เพื่อชาติ
6 คน
1
5
สส.ไม่ทราบฝ่าย
2 คน
2 คน
ไม่เห็นด้วย
2

เศรษฐกิจไทย
1 คน
1

เราทำได้
1 คน
1
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ