ร่าง พ.ร.บ. เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (แก้ใหม่)
ชื่อทางการ
ร่างพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (รัฐสภาปรึกษาใหม่ ตามมาตรา 146 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย)
สรุปเนื้อหา
ร่าง พ.ร.บ. เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า เป็นการแก้ไข พ.ร.บ.เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า พ.ศ.2484 ยกเลิกการสืบตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า และ นายกฯ นำร่าง พ.ร.บ.เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (ร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ) ที่ ขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อ 31 มกราคม 2565 แต่พระมหากษัตริย์ไม่ได้ลงพระปรมาภิไธยภายใน 90 วัน และไม่ได้พระราชทานร่างกฎหมายคืนกลับมา ซึ่งรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.2560 มาตรา 146 กำหนดให้รัฐสภาจะต้องนำร่างพระราชบัญญัตินั้นมา "ปรึกษา" ใหม่ เพื่อหาทางว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อ หากรัฐสภาประสงค์จะยืนยันตามที่ลงมติเดม ต้องใช้มติไม่น้อยกว่าสองในสามของสมาชิกสองสภา (ส.ส. + ส.ว.) ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ แต่ถ้าเสียงยืนยันไม่ถึงสองในสาม ร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ก็จะเป็นอันตกไป
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
727
เห็นด้วย
1
ไม่เห็นด้วย
431
งดออกเสียง
28
ไม่ลงคะแนน
1
ลา / ขาดลงมติ
266
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
254 คน
164 คน
ไม่เห็นด้วย
164
1
1
88
พลังประชารัฐ
96 คน
61
35
ภูมิใจไทย
63 คน
49
14
ประชาธิปัตย์
52 คน
25
1
1
25
ชาติไทยพัฒนา
12 คน
6
6
เศรษฐกิจใหม่
6 คน
4
2
พลังท้องถิ่นไท
5 คน
4
1
รวมพลัง
5 คน
4
1
ชาติพัฒนากล้า
4 คน
4
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
1
1
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1
ไทรักธรรม
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
ประชาภิวัฒน์
1 คน
1
รวมแผ่นดิน
1 คน
1
พลังธรรมใหม่
1 คน
1
พลังปวงชนไทย
1 คน
1
เพื่อชาติไทย
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
207 คน
116 คน
ลา / ขาดลงมติ
64
27
116
เพื่อไทย
132 คน
50
82
ก้าวไกล
51 คน
2
27
22
เสรีรวมไทย
11 คน
7
4
ประชาชาติ
7 คน
2
5
เพื่อชาติ
6 คน
3
3
สส.ไม่ทราบฝ่าย
17 คน
9 คน
ไม่เห็นด้วย
9
8
เศรษฐกิจไทย
16 คน
8
8
เราทำได้
1 คน
1
สว.
249 คน
194 คน
ไม่เห็นด้วย
1
194
54
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ