ร่าง พ.ร.บ. แก้ไข ป.แพ่ง (วาระ 1)
สรุปเนื้อหา
ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เป็นแก้ไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถานที่ยื่นขอจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท อำนาจกำหนด ลด หรือยกเว้นค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนและการขอสำเนาเอกสาร การลดจำนวนผู้เริ่มก่อการและตั้งบริษัท การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการประชุมกรรมการ การกำหนดระยะเวลาจ่ายเงินปันผลที่แน่นอน และการรวมบริษัท เนื่องจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ลักษณะ 22 หุ้นส่วนและบริษัทมีบทบัญญัติบางมาตราที่ไม่เหมาะสมกับปัจจุบัน ไม่เอื้อต่อการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงาน และสร้างภาระโดยจำเป็นแก่ประชาชน เป็นอุปสรรคต่อศักยภาพการแข่งขันของประเทศ โดยเฉพาะการกำหนดจำนวนขั้นต่ำของผู้เริ่มก่อการและตั้งบริษัทจำกัดไว้สามคน การไม่กำหนดระยะเวลาจ่ายเงินปันผลที่แน่นอน จึงต้องแก้ไขเพื่อความคล่องตัวในการประกอบธุรกิจ
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
483
เห็นด้วย
256
ไม่เห็นด้วย
0
งดออกเสียง
4
ไม่ลงคะแนน
2
ลา / ขาดลงมติ
221
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
272 คน
186 คน
เห็นด้วย
186
4
2
80
พลังประชารัฐ
119 คน
78
2
2
37
ภูมิใจไทย
61 คน
54
7
ประชาธิปัตย์
48 คน
32
2
14
ชาติไทยพัฒนา
12 คน
3
9
เศรษฐกิจใหม่
6 คน
3
3
พลังท้องถิ่นไท
5 คน
1
4
รวมพลัง
5 คน
5
ชาติพัฒนากล้า
4 คน
4
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
2
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1
ไทรักธรรม
1 คน
1
ประชาธรรมไทย
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
ประชาภิวัฒน์
1 คน
1
รวมแผ่นดิน
1 คน
1
เพื่อชาติไทย
1 คน
1
พลังธรรมใหม่
1 คน
1
พลังปวงชนไทย
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
209 คน
141 คน
ลา / ขาดลงมติ
68
141
เพื่อไทย
134 คน
34
100
ก้าวไกล
53 คน
27
26
เสรีรวมไทย
10 คน
3
7
ประชาชาติ
7 คน
2
5
เพื่อชาติ
5 คน
2
3
สส.ไม่ทราบฝ่าย
2 คน
2 คน
เห็นด้วย
2
เศรษฐกิจไทย
1 คน
1
เราทำได้
1 คน
1
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ