ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมพ.ร.ก.รักษาเสถียรภาพของระบบการเงินและความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ (วาระ 1)
ชื่อทางการ
ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินและความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ พ.ศ. 2563
สรุปเนื้อหา
ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมพ.ร.ก.รักษาเสถียรภาพของระบบการเงินและความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ เป็นแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.ก.การรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินและความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ พ.ศ.2563 เนื่องจากการลงทุนตราสารหนี้ตาม พ.ร.ก.กำหนดให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ประกอบวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ.2563 เป็นเรื่องสำคัญที่ต้องดำเนินการโดยโปร่งใส เพื่อประโยชน์ของเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ การผ่อนพันหลักเกณฑ์ต่างๆ จึงต้องอยู่ในกรอบที่เหมาะสม และสมควรให้มีคณะกรรมการผู้สังเกตการณ์จากสภาผู้แทนราษฎร ในคณะกรรมการกำกับกองทุนเพื่อรักษาสภาพคล่องของการระดมทุนในตลาดตราสารหนี้ เพื่อให้ประชาชนมั่นใจว่าการดำเนินการต่างๆ เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และควรให้รายงานการลงทุนตาม พ.ร.ก. นี้ ต่อรัฐสภาทุก 3 เดือน
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
268
เห็นด้วย
84
ไม่เห็นด้วย
180
งดออกเสียง
2
ไม่ลงคะแนน
2
ลา / ขาดลงมติ
0
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
173 คน
165 คน
ไม่เห็นด้วย
4
165
2
2
ประชาธิปัตย์
33 คน
2
30
1
พลังประชารัฐ
59 คน
58
1
ภูมิใจไทย
56 คน
56
พลังท้องถิ่นไท
1 คน
1
รวมพลัง
4 คน
4
ชาติไทยพัฒนา
7 คน
1
6
ชาติพัฒนากล้า
4 คน
4
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
1
1
พลังปวงชนไทย
1 คน
1
เศรษฐกิจใหม่
4 คน
4
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
รวมแผ่นดิน
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
88 คน
78 คน
เห็นด้วย
78
10
เพื่อไทย
57 คน
51
6
ก้าวไกล
24 คน
20
4
ประชาชาติ
2 คน
2
เสรีรวมไทย
3 คน
3
เพื่อชาติ
2 คน
2
สส.ไม่ทราบฝ่าย
7 คน
5 คน
ไม่เห็นด้วย
2
5
เศรษฐกิจไทย
6 คน
2
4
เราทำได้
1 คน
1
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ