ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ที่พรรคก้าวไกลเป็นผู้เสนอ (วาระ 1)
สรุปเนื้อหา
ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ที่พรรคก้าวไกลเป็นผู้เสนอ มีสาระสำคัญ คือ กำหนดให้ใช้ระบบเลือกตั้งแบบคู่ขนาน (มีบัตรเลือกตั้งสองใบ) แต่การคำนวณ ส.ส.แบบบัญชีรายชื่อให้คำนวณเฉพาะพรรคที่ได้จำนวน ส.ส. เป็นจำนวนเต็มแล้วเท่านั้น (ไม่มี ส.ส.ปัดเศษ) ส่วนการเลือกตั้ง ส.ส. กำหนดให้ หมายเลขผู้สมัครของ ส.ส.เขต และ ส.ส.บัญชีรายชื่อ ใช้ระบบหมายเลขเดียวกันทั้งประเทศ นอกจากนี้ ยังเพิ่มอำนาจในการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งให้ชัดเจนขึ้น เช่น การห้ามขัดขวางการบันทึกหรือเผยแพร่การนับคะแนนของประชาชน การยกเลิกบทบัญญัติที่ให้กกต. กำหนดจำนวนและรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ช่วยหาเสียงให้กับผู้สมัคร ส.ส. และการให้ กกต. รายงานผลการเลือกตั้งในรูปอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
722
เห็นด้วย
418
ไม่เห็นด้วย
202
งดออกเสียง
15
ไม่ลงคะแนน
0
ลา / ขาดลงมติ
87
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
252 คน
208 คน
เห็นด้วย
208
10
2
32

พลังประชารัฐ
96 คน
80
3
13

ภูมิใจไทย
63 คน
59
4

ประชาธิปัตย์
50 คน
40
1
9

ชาติไทยพัฒนา
12 คน
9
3

เศรษฐกิจใหม่
6 คน
5
1

พลังท้องถิ่นไท
5 คน
5

รวมพลัง
5 คน
4
1

ชาติพัฒนากล้า
4 คน
4

รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
1
1

ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1

ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1

ไทรักธรรม
1 คน
1

ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1

ประชาภิวัฒน์
1 คน
1

รวมแผ่นดิน
1 คน
1

พลังธรรมใหม่
1 คน
1

พลังปวงชนไทย
1 คน
1

เพื่อชาติไทย
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
205 คน
189 คน
เห็นด้วย
189
16

เพื่อไทย
131 คน
119
12

ก้าวไกล
51 คน
49
2

เสรีรวมไทย
10 คน
10

ประชาชาติ
7 คน
6
1

เพื่อชาติ
6 คน
5
1
สส.ไม่ทราบฝ่าย
17 คน
15 คน
เห็นด้วย
15
2

เศรษฐกิจไทย
16 คน
15
1

เราทำได้
1 คน
1
สว.
248 คน
192 คน
ไม่เห็นด้วย
6
192
11
39
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ