อนุมัติ พ.ร.ก. รักษาเสถียรภาพของระบบการเงิน
ชื่อทางการ
พระราชกำหนดการรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินและความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ พ.ศ. 2563
สรุปเนื้อหา
ร่าง พ.ร.ก. รักษาเสถียรภาพของระบบการเงิน เป็นการใช้อำนาจนายกรัฐมนตรีในการตรากฎหมาย โดยสาระสำคัญของ พ.ร.ก.ฉบับดังกล่าว คือ การช่วยเหลือตลาดตราสารหนี้ซึ่งเป็นช่องทางในการระดมทุนอย่างสำคัญในการประกอบธุรกิจ การลงทุนและการออมของประชาชน ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกภาคส่วนของทั่วโลกเกิดภาวะชะงักงันอย่างรุนแรง ผู้ประกอบการซึ่งระดมทุนในตลาดตราสารหนี้ต้องประสบปัญหาขาดสภาพคล่องกะทันหัน ไม่สามารถไถ่ถอนตราสารหนี้ที่ครบกำหนดและที่จะใกล้ครบกำหนดซึ่งมีมูลค่านับแสนล้านบาทได้ และมีแนวโน้มสูงมากที่จะเกิดการผิดนัดชำระหนี้ของผู้ออกตราสารหนี้ ซึ่งเป็นความเสี่ยงเชิงระบบที่กระทบต่อเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจและระบบการเงินของประเทศ และต่อประชาชนโดยรวม จึงจำเป็นต้องกำหนดให้กระทรวงการคลัง และธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ร่วมกันดำเนินการเพื่อรักษาสภาพคล่องของการระดมทุนในตลาดตราสารหนี้ภาคเอกชน
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
482
เห็นด้วย
275
ไม่เห็นด้วย
194
งดออกเสียง
12
ไม่ลงคะแนน
1
ลา / ขาดลงมติ
0
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
276 คน
271 คน
เห็นด้วย
271
2
2
1
ประชาธิปัตย์
52 คน
51
1
พลังประชารัฐ
118 คน
116
1
1
ภูมิใจไทย
61 คน
61
พลังท้องถิ่นไท
5 คน
5
รวมพลัง
5 คน
5
เพื่อชาติไทย
1 คน
1
ชาติไทยพัฒนา
12 คน
12
ชาติพัฒนากล้า
4 คน
4
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
2
รวมแผ่นดิน
1 คน
1
พลังปวงชนไทย
1 คน
1
เศรษฐกิจใหม่
6 คน
5
1
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ประชาธรรมไทย
1 คน
1
ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1
ประชานิยม
1 คน
1
พลังธรรมใหม่
1 คน
1
ประชาภิวัฒน์
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
ไทรักธรรม
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
205 คน
192 คน
ไม่เห็นด้วย
3
192
10
ประชาชาติ
6 คน
6
เพื่อไทย
132 คน
2
129
1
ก้าวไกล
53 คน
1
52
เสรีรวมไทย
9 คน
9
เพื่อชาติ
5 คน
5
สส.ไม่ทราบฝ่าย
1 คน
1 คน
เห็นด้วย
1
เราทำได้
1 คน
1
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ