อภิปรายไม่ไว้วางใจ นายดอน ปรมัตถ์วินัย (ก.พ. 63)
ชื่อทางการ
ลงมติญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล นายดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
สรุปเนื้อหา
การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 เป็นการอภิปรายไม่ไว้วางใจครั้งแรกของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 25 โดยมีผู้ถูกอภิปราย 6 คน ได้แก่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยรัฐมนตรีทุกคนได้รับคะแนนเสียงไว้วางใจจากสภาเท่ากัน ยกเว้น ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ที่ถูกอภิปรายอย่างหนักจากคดีความเกี่ยวกับยาเสพติดในอดีต
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
329
เห็นด้วย
55
ไม่เห็นด้วย
272
งดออกเสียง
2
ไม่ลงคะแนน
0
ลา / ขาดลงมติ
0
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
271 คน
269 คน
ไม่เห็นด้วย
269
2
ประชาธิปัตย์
51 คน
50
1
ไทรักธรรม
1 คน
1
พลังประชารัฐ
118 คน
117
1
ภูมิใจไทย
61 คน
61
พลังท้องถิ่นไท
5 คน
5
รวมพลัง
5 คน
5
เพื่อชาติไทย
1 คน
1
ชาติไทยพัฒนา
11 คน
11
ชาติพัฒนากล้า
3 คน
3
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
2
รวมแผ่นดิน
1 คน
1
เศรษฐกิจใหม่
5 คน
5
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ประชาธรรมไทย
1 คน
1
ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1
ประชานิยม
1 คน
1
พลังธรรมใหม่
1 คน
1
ประชาภิวัฒน์
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
4 คน
3 คน
เห็นด้วย
3
1
ก้าวไกล
1 คน
1
เสรีรวมไทย
2 คน
2
ประชาชาติ
1 คน
1
สส.ไม่ทราบฝ่าย
1 คน
1 คน
ไม่เห็นด้วย
1
เราทำได้
1 คน
1
* ข้อมูลการสังกัดพรรคและฝ่ายในสภาฯ ยึดตามข้อมูล ณ วันที่ลงมติ ซึ่งเป็นไปได้ว่าในวันนั้นมีอาจสส.ที่ไม่มีสังกัดพรรคร่วมลงมติ เพราะอาจอยู่ระหว่างการย้ายพรรคการเมือง หรือเพิ่งโดนขับออกจากพรรค เป็นต้น ตามรัฐธรรมนูญ 60 สส. ต้องสังกัดพรรคใหม่ภายใน 30 วัน ในกรณีที่ถูกขับออก และ 60 วันในกรณียุบพรรค ไม่เช่นนั้นจะพ้นสภาพ
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ