แก้ รธน. ปลดล็อคท้องถิ่น (คณะก้าวหน้า) (วาระ 1)
สรุปเนื้อหา
ร่างแก้รัฐธรรมนูญ "ปลดล็อคท้องถิ่น" เป็นข้อเสนอของคณะก้าวหน้า ที่เสนอโดย ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ ประธานคณะก้าวหน้ากับประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวน 76,591 คน ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฉบับนี้ เสนอให้เขียนหมวดการปกครองส่วนท้องถิ่นขึ้นใหม่ จากเดิมที่มีความยาวเพียงสองหน้า จำนวนหกมาตรา เป็นหมวดที่เขียนลงรายละเอียดมากขึ้นยาวหกหน้า 12 มาตรา ยังคงไว้ซึ่งองค์กรส่วนท้องถิ่นชื่อเดิม ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) รวมทั้งองค์กรท้องถิ่นรูปแบบพิเศษทั้งกรุงเทพมหานคร และพัทยา โดยหลักการสำคัญของร่างปลดล็อกท้องถิ่นต้องการวางเจตนารมณ์แห่งการปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้มแข็งว่า “รัฐต้องจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินแบบกระจายอำนาจ และต้องให้ความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่น” คือ กำหนดให้ท้องถิ่นมีอำนาจทำบริการสาธารณะทุกเรื่องยกเว้นเรื่องความมั่นคง ให้ท้องถิ่นได้รับการจัดสรรงบประมาณร้อยละ 50 จากรายได้ทั้งหมดของรัฐภายในสามปี ให้สภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้งเท่านั้น ห้ามส่วนกลางก้าวก่ายท้องถิ่น และการเพิกถอนคำสั่งต้องไปร้องศาลปกครอง ให้สิทธิประชาชนสามารถเข้าชื่อกันเพื่อถอดถอนผู้บริหารท้องถิ่นได้
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
721
เห็นด้วย
253
ไม่เห็นด้วย
245
งดออกเสียง
129
ไม่ลงคะแนน
0
ลา / ขาดลงมติ
94
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
252 คน
101 คน
งดออกเสียง
60
54
101
37
ประชาธิปัตย์
52 คน
33
2
10
7
พลังประชารัฐ
95 คน
13
26
42
14
ภูมิใจไทย
63 คน
18
36
9
พลังท้องถิ่นไท
5 คน
5
รวมพลัง
5 คน
5
เพื่อชาติไทย
1 คน
1
เศรษฐกิจใหม่
6 คน
2
4
ชาติไทยพัฒนา
12 คน
4
3
5
ชาติพัฒนากล้า
4 คน
1
2
1
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
1
1
ประชาภิวัฒน์
1 คน
1
พลังปวงชนไทย
1 คน
1
รวมแผ่นดิน
1 คน
1
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1
พลังธรรมใหม่
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
203 คน
179 คน
เห็นด้วย
179
13
11
เพื่อไทย
129 คน
117
6
6
ประชาชาติ
7 คน
6
1
ก้าวไกล
50 คน
43
5
2
เสรีรวมไทย
11 คน
10
1
เพื่อชาติ
6 คน
3
1
2
สส.ไม่ทราบฝ่าย
17 คน
8 คน
เห็นด้วย
8
2
5
2
เศรษฐกิจไทย
16 คน
8
1
5
2
เราทำได้
1 คน
1
สว.
249 คน
189 คน
ไม่เห็นด้วย
6
189
10
44
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ