แก้ รธน. พรรคประชาธิปัตย์ ฉบับที่ 1 เพิ่มสิทธิในกระบวนการยุติธรรม สิทธิชุมชน สิทธิผู้บริโภค (โหวต 13 ฉบับ) (วาระ 1)
สรุปเนื้อหา
ร่างที่นำเสนอโดยประชาธิปัตย์ ฉบับที่ 1 ประเด็นสิทธิเสรีภาพของประชาชน 1) เพิ่มมาตรา 29 เอาสิทธิในกระบวนการยุติธรรมกลับมา ซึ่งเขียนคล้ายกับฉบับปี 2550 สิทธิเหล่านี้เคยเขียนไว้ชัดเจนในฉบับปี 2550 แต่ถูกตัดออกไปในฉบับปี 2560 2) เพิ่มมาตรา 43 เอาหลักการเรื่ององค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพกลับคืนมา ซึ่งเคยมีในฉบับปี 2550 แต่ถูกตัดออกไปในฉบับปี 2560 3) แก้ไขมาตรา 46 เรื่องสิทธิผู้บริโภค คุ้มครองสิทธิได้รับข้อมูลที่เป็นความจริง ได้รับการเยียวยาความเสียหาย สิทธิการรวมตัว และกำหนดให้ “ต้องมี” องค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค รับงบประมาณจากรัฐ ซึ่งต่างจากฉบับปี 2560 ที่กำหนดเพียงให้ผู้บริโภคมีสิทธิจัดตั้งองค์กร 4)เพิ่มเติมมาตรา 72 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับที่ดิน น้ำ พลังงาน โดยให้เกษตรกรมีสิทธิในที่ดินอย่างทั่วถึงโดยการ “ปฏิรูปที่ดิน” รวมทั้งจัดหาแหล่งน้ำเพื่อให้เกษตรกรมีน้ำใช้อย่างพอเพียงและเหมาะสม
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
4236
เห็นด้วย
2785
ไม่เห็นด้วย
476
งดออกเสียง
975
ไม่ลงคะแนน
0
ลา / ขาดลงมติ
0
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
1620 คน
1408 คน
เห็นด้วย
1408
49
163

ประชาธิปัตย์
288 คน
282
6

พลังประชารัฐ
708 คน
648
1
59

ภูมิใจไทย
360 คน
300
60

พลังท้องถิ่นไท
30 คน
25
5

รวมพลัง
30 คน
30

เพื่อชาติไทย
6 คน
6

ชาติไทยพัฒนา
72 คน
60
12

ชาติพัฒนากล้า
24 คน
16
8

รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
12 คน
12

รวมแผ่นดิน
6 คน
6

พลังปวงชนไทย
6 คน
6

เศรษฐกิจใหม่
36 คน
36

ครูไทยเพื่อประชาชน
6 คน
6

ประชาธรรมไทย
6 คน
6

ไทยศรีวิไลย์
6 คน
5
1

พลังธรรมใหม่
6 คน
6

ประชาภิวัฒน์
6 คน
6

ประชาธิปไตยใหม่
6 คน
6

ไทรักธรรม
6 คน
6
สส.ฝ่ายค้าน
1248 คน
997 คน
เห็นด้วย
997
10
241

เพื่อไทย
798 คน
798

ประชาชาติ
42 คน
42

ก้าวไกล
318 คน
77
241

เสรีรวมไทย
60 คน
50
10

เพื่อชาติ
30 คน
30
สส.ไม่ทราบฝ่าย
12 คน
9 คน
งดออกเสียง
3
9

เศรษฐกิจไทย
6 คน
3
3

เราทำได้
6 คน
6
สว.
1356 คน
562 คน
งดออกเสียง
377
417
562
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ