แก้ รธน. พรรคพลังประชารัฐ สิทธิเสรีภาพ, บัตรเลือกตั้ง 2 ใบ, ตัดบทลงโทษ ส.ส.ดูเรื่องงบ, ตัดข้อห้าม ส.ส.เกี่ยวข้องราชการ, ให้ ส.ส. ร่วมติดตามปฏิรูปประเทศกับ ส.ว. (โหวต 13 ฉบับ) (วาระ 1)
สรุปเนื้อหา
ร่างที่เสนอโดยพรรคพลังประชารัฐ พรรคเดียว เสนอหลายประเด็นรวมกัน ดังนี้ 1) เพิ่มมาตรา 29 เอาสิทธิในกระบวนการยุติธรรมกลับมา ซึ่งเขียนคล้ายกับฉบับปี 2550 สิทธิเหล่านี้เคยเขียนไว้ชัดเจนในฉบับปี 2550 แต่ถูกตัดออกไปในฉบับปี 2560 2) แก้ไขมาตรา 41(3) ในประเด็นสิทธิของชุมชน เพิ่มเติมให้ชุมชนยังมีสิทธิที่จะได้รับความช่วยเหลือทางกฎหมายอย่างเหมาะสมจากรัฐในกรณีที่ฟ้องหน่วยงานของรัฐ 3) แก้ไขมาตรา 45 เลิกบังคับพรรคการเมืองทำ Primary Vote 4) เสนอให้นำระบบเลือกตั้ง "บัตรสองใบ" แบบรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 กลับมาใช้ แต่มีรายละเอียดต่างไป เช่น กำหนดเกณฑ์ขั้นต่ำของพรรคที่ได้ ส.ส. ปาร์ตี้ลิสต์ไว้ที่ 1% 5) แก้ไขมาตรา 144 ลดความเข้มงวดเรื่องทุจริต ยกเลิกการกำหนดโทษ ส.ส. หรือ ส.ว. หรือคณะรัฐมนตรี รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ แปรญญัติให้ตัวเองมีส่วนใช้งบประมาณ 6) แก้ไขมาตรา 185 ลดความเข้มงวดเรื่องทุจริต ยกเลิกการห้าม ส.ส. หรือ ส.ว. ก้าวก่ายหรือแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการ 7) แก้ไขมาตรา 270 ให้อำนาจกำกับการปฏิรูปประเทศ และดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ จากเดิมที่เป็นของ ส.ว. ฝ่ายเดียว ให้เป็นอำนาจของ ส.ส. ร่วมด้วย
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
706
เห็นด้วย
334
ไม่เห็นด้วย
199
งดออกเสียง
173
ไม่ลงคะแนน
0
ลา / ขาดลงมติ
0
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
270 คน
194 คน
เห็นด้วย
194
7
69
ประชาธิปัตย์
48 คน
45
3
พลังประชารัฐ
118 คน
118
ภูมิใจไทย
60 คน
60
พลังท้องถิ่นไท
5 คน
3
2
รวมพลัง
5 คน
5
เพื่อชาติไทย
1 คน
1
ชาติไทยพัฒนา
12 คน
12
ชาติพัฒนากล้า
4 คน
4
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
2
รวมแผ่นดิน
1 คน
1
พลังปวงชนไทย
1 คน
1
เศรษฐกิจใหม่
6 คน
6
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ประชาธรรมไทย
1 คน
1
ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1
พลังธรรมใหม่
1 คน
1
ประชาภิวัฒน์
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
ไทรักธรรม
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
208 คน
139 คน
เห็นด้วย
139
64
5
เพื่อไทย
133 คน
133
ประชาชาติ
7 คน
1
6
ก้าวไกล
53 คน
48
5
เสรีรวมไทย
10 คน
10
เพื่อชาติ
5 คน
5
สส.ไม่ทราบฝ่าย
2 คน
1 คน
เห็นด้วย
1
1
เศรษฐกิจไทย
1 คน
1
เราทำได้
1 คน
1
สว.
226 คน
128 คน
ไม่เห็นด้วย
128
98
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ