นางสาว ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์
ตำแหน่งปัจจุบัน
- รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ใน คณะรัฐมนตรี ชุดที่ 64
- สมาชิก ใน สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 26
ข้อมูลพื้นฐาน
เพศ หญิง วันเกิด 13 กรกฎาคม 2522 (45 ปี)
การศึกษา- ปริญญาเอก Education Professional Doctorates, Central Queensland University, Australia
- ปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ Wollongong University, Australia
- ปริญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกรุงเทพมหานคร ปี 2554, 2562
- คณะกรรมาธิการการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร
- คณะกรรมาธิการการการอุตสาหกรรม สภาผู้แทนราษฎร
- คณะกรรมการผู้ประสานงานฝ่ายค้าน ชุดที่ 25
- กรรมการสมาชิกสหภาพรัฐสภา (IPU)
- ประธานสภาวัฒนธรรมเขตลาดกระบัง
- คณะกรรมการผู้ประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล ชุดที่ 24
- ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้บริหาร ฝ่ายพัฒนาบุคลากร ธนาคารกสิกรไทย (2551-2552)
ประวัติทางการเมือง
หมายเหตุ : ข้อมูลย้อนหลังถึงปี 2562
3 ตำแหน่งทางการเมือง
- รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ครม. ชุดที่ 64 (ก.ย. 67 - ปัจจุบัน)
- สมาชิก สส. ชุดที่ 26 (พ.ค. 66 - ปัจจุบัน)
- สมาชิก สส. ชุดที่ 25 (มี.ค. 62 - มี.ค. 66)
1 พรรคที่เคยสังกัด
- เพื่อไทย (มี.ค. 62 - ปัจจุบัน) ตำแหน่ง : สมาชิก (มี.ค. 62 - ปัจจุบัน)
ประวัติการลงมติ
5 มติล่าสุด ที่ธีรรัตน์เห็นด้วย
- ร่าง พ.ร.บ. สมรสเท่าเทียม (วาระ 1) ผ่าน
- ร่าง พ.ร.บ. มาตรการปราบทุจริตของฝ่ายบริหาร (วาระ 1) ผ่าน
- ร่างข้อบังคับ เปลี่ยนชื่อ กมธ. (วาระ 1) ผ่าน
- ร่างข้อบังคับ เปลี่ยนชื่อ กมธ. (วาระ 1) ผ่าน
- เลือก เศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกฯ ผ่าน
5 มติล่าสุด ที่ธีรรัตน์ไม่เห็นด้วย
- ร่างข้อบังคับ สภาก้าวหน้า ครั้งที่ 1 ไม่ผ่าน
- ร่างข้อบังคับ สภาก้าวหน้า ครั้งที่ 1 ไม่ผ่าน
- ตั้ง กมธ. วิสามัญแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนอันเกิดจากลิง ไม่ผ่าน
- ทำประชามติ จัดทำ รธน. ใหม่ ไม่ผ่าน
- ตั้ง กมธ.แก้ปัญหาการศึกษาเด็กไร้สัญชาติ ไม่ผ่าน
การลา / ขาดลงมติ
ธีรรัตน์ลา / ขาดลงมติในการลงมติ 32 มติ (16.08%) จากทั้งหมด 199 มติในฐานข้อมูล ซึ่งมากกว่าค่ากลางของสมาชิกในสภาทั้งหมด (ค่ากลาง = 3.88%)
หมายเหตุ : การขาดลงมติ เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ติดประชุมอื่น ติดภารกิจสำคัญ เจ็บป่วย จึงอาจไม่ได้สะท้อนความไม่รับผิดชอบเสมอไป
ดู 32 มติที่ขาดเว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ