ร่าง พ.ร.บ. สมรสเท่าเทียม (วาระ 1)
ชื่อทางการ
ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
สรุปเนื้อหา
ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ซึ่งมีใจความหลักสำคัญการแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) ที่ใช้บังคับอยู่ ซึ่งยังรับรองการสมรสเฉพาะชาย-หญิง เท่านั้น เพื่อให้รับรองการสมรสสำหรับบุคคลสองคนไม่ว่าจะมีเพศตามทะเบียนราษฎรเป็นเพศใดก็ตาม โดยการลงมตินี้ ใช้ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมสามฉบับ เรียงตามลำดับช่วงวันที่เสนอต่อสภา ได้แก่ 1) ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ฉบับที่เสนอโดย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สส.) พรรคก้าวไกล 2) ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ฉบับที่เสนอโดยภาคประชาชน ใช้กลไกเข้าชื่อเสนอกลไกรวบรวมรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งเกิน 10,000 ชื่อเสนอร่างกฎหมายเข้าสภา และ 3) ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม ฉบับที่เสนอโดย คณะรัฐมนตรี (ครม.) ผลักดันโดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ https://ilaw.or.th/node/6729
ดาวน์โหลดข้อมูล
อัพเดตข้อมูล: 24 ต.ค. 2567
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
499
เห็นด้วย
366
ไม่เห็นด้วย
10
งดออกเสียง
0
ไม่ลงคะแนน
1
ลา / ขาดลงมติ
122
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
314 คน
209 คน
เห็นด้วย
209
9
1
95
เพื่อไทย
141 คน
117
24
ภูมิใจไทย
71 คน
52
2
1
16
พลังประชารัฐ
40 คน
16
24
รวมไทยสร้างชาติ
35 คน
15
20
ชาติไทยพัฒนา
10 คน
3
7
ประชาชาติ
9 คน
7
2
ชาติพัฒนากล้า
3 คน
2
1
เพื่อไทรวมพลัง
2 คน
2
ท้องที่ไทย
1 คน
1
พลังสังคมใหม่
1 คน
1
เสรีรวมไทย
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
183 คน
155 คน
เห็นด้วย
155
1
27
ก้าวไกล
146 คน
141
5
ประชาธิปัตย์
25 คน
7
1
17
ไทยสร้างไทย
6 คน
3
3
เป็นธรรม
2 คน
2
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ไทยก้าวหน้า
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
ใหม่
1 คน
1
* ข้อมูลการสังกัดพรรคและฝ่ายในสภาฯ ยึดตามข้อมูล ณ วันที่ลงมติ ซึ่งเป็นไปได้ว่าในวันนั้นมีอาจสส.ที่ไม่มีสังกัดพรรคร่วมลงมติ เพราะอาจอยู่ระหว่างการย้ายพรรคการเมือง หรือเพิ่งโดนขับออกจากพรรค เป็นต้น ตามรัฐธรรมนูญ 60 สส. ต้องสังกัดพรรคใหม่ภายใน 30 วัน ในกรณีที่ถูกขับออก และ 60 วันในกรณียุบพรรค ไม่เช่นนั้นจะพ้นสภาพ
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ