ตั้ง กมธ. วิสามัญศึกษามาตรการควบคุมฝูงชน
ชื่อทางการ
ญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษามาตรการควบคุมฝูงชน และแสวงหาข้อเท็จจริงการสลายการชุมนุม อันเนื่องมาจากเหตุการณ์การชุมนุมของเยาวชน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ตั้งแต่ พ.ศ. 2563 ถึง พ.ศ. 2565
สรุปเนื้อหา
เป็นญัตติที่ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ เพื่อหามาตรฐานการสลายการชุมนุมที่เป็นไปด้วยหลักสากล และเป็นไปตามหลักสิทธิมนุษยชน เนื่องจากในปี 2563-2565 เป็นปีที่มีการจัดชุมนุมมากที่สุดในรอบหลายทศวรรษ ซึ่งในการชุมนุมทั้งหมดที่กล่าวมาล้วนมีการสลายการชุมนุมในรูปแบบต่างๆไม่ว่าจะเป็นการสลายการชุมนุมด้วยตัวของผู้จัดเอง และการถูกสลายการชุมนุมด้วยเจ้าหน้าที่ของรัฐ จึงต้องการมาหารือเรื่องการตั้งกรรมาธิการวิสามัญ เพื่อหามาตรการร่วมกันที่เป็นมาตรการที่ยอมรับและถูกต้องตามหลักสากล เพื่อให้บุคคลทั่วไปนั้นได้รับทราบถึงมาตรการสากลที่ถูกต้องในการสลายการชุมนุมอย่างที่ควรจะเป็นตามหลักสิทธิมนุษยชน อย่างไรก็ตาม ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่เห็นด้วย โดยมีมติให้ส่งข้อเสนอไปยังคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาแทน
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
499
เห็นด้วย
151
ไม่เห็นด้วย
223
งดออกเสียง
0
ไม่ลงคะแนน
0
ลา / ขาดลงมติ
124
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
313 คน
222 คน
ไม่เห็นด้วย
2
222
89
เพื่อไทย
141 คน
2
100
39
ภูมิใจไทย
70 คน
62
8
พลังประชารัฐ
40 คน
21
19
รวมไทยสร้างชาติ
36 คน
23
13
ชาติไทยพัฒนา
10 คน
5
5
ประชาชาติ
9 คน
5
4
ชาติพัฒนากล้า
2 คน
2
เพื่อไทรวมพลัง
2 คน
2
ท้องที่ไทย
1 คน
1
พลังสังคมใหม่
1 คน
1
เสรีรวมไทย
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
184 คน
149 คน
เห็นด้วย
149
35
ก้าวไกล
148 คน
137
11
ประชาธิปัตย์
25 คน
8
17
ไทยสร้างไทย
6 คน
3
3
เป็นธรรม
2 คน
2
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
ใหม่
1 คน
1
* ข้อมูลการสังกัดพรรคและฝ่ายในสภาฯ ยึดตามข้อมูล ณ วันที่ลงมติ ซึ่งเป็นไปได้ว่าในวันนั้นมีอาจสส.ที่ไม่มีสังกัดพรรคร่วมลงมติ เพราะอาจอยู่ระหว่างการย้ายพรรคการเมือง หรือเพิ่งโดนขับออกจากพรรค เป็นต้น ตามรัฐธรรมนูญ 60 สส. ต้องสังกัดพรรคใหม่ภายใน 30 วัน ในกรณีที่ถูกขับออก และ 60 วันในกรณียุบพรรค ไม่เช่นนั้นจะพ้นสภาพ
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ