ข้อมูลพื้นฐาน
เพศ หญิง
การศึกษา- ปริญญาตรี คณะศิลปศาสตรบัณฑิต สังคมศาสตร์ สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยนานาชาติมหิดล
- ปริญญาโท MA in Public International Law, Human Rights concentration, SOAS university of London
- ธุรกิจส่วนตัวด้านอสังหาริมทรัพย์
- เลขานุการคณะกรรมการมูลนิธิการศึกษาเพื่อการพัฒนา (ทำงานด้านการศึกษาและการพัฒนาผู้ลี้ภัยและแรงงานข้ามชาติอยู่ที่อ.แม่สอด จ.ตากและอ.ตะกั่วป่า จ.พังงา)
- กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายบางฉบับที่หมดความจำเป็นหรือซ้ำซ้อนกับกฎหมายอื่น
- ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการการพัฒนาประสิทธิภาพการเลือกตั้งและการมีส่วนร่วมของประชาชน
- ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการการศึกษาและพัฒนาคลองไทย
- ผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่ม “รัฐธรรมนูญก้าวหน้า - CONLAB) รณรงค์ให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
- ล่ามแปลภาษาอังกฤษ - ไทย National Health Service ณ กรุงลอนดอนประเทศอังกฤษ
- เจ้าหน้าที่ทีมหุ้นส่วนและทีมสื่อสารองค์กรนานาชาติฟรีแลนด์ (องค์กรไม่แสวงหาผลกำไรด้านการต่อต้านการลักลอบการค้ามนุษย์และสัตว์ป่า อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม)
- ผู้ช่วยผู้บริหารบริษัทอุดมธุรกิจจำกัด
- ผู้ช่วยนักการทูต (internship) กองการเมืองและความมั่นคง กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ประวัติทางการเมือง
หมายเหตุ : ข้อมูลย้อนหลังถึงปี 2562
1 ตำแหน่งทางการเมือง
- สมาชิก สส. ชุดที่ 26 (พ.ค. 66 - ปัจจุบัน)
ประวัติการลงมติ
5 มติล่าสุด ที่ธิษะณาเห็นด้วย
- ร่าง พ.ร.บ. สมรสเท่าเทียม (วาระ 1) ผ่าน
- ร่าง พ.ร.บ. มาตรการปราบทุจริตของฝ่ายบริหาร (วาระ 1) ผ่าน
- ร่าง พ.ร.บ. ยกเลิกความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ผ่าน
- ร่างข้อบังคับ สภาก้าวหน้า ครั้งที่ 1 ไม่ผ่าน
- ตั้ง กมธ. วิสามัญแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนอันเกิดจากลิง ไม่ผ่าน
2 มติล่าสุด ที่ธิษะณาไม่เห็นด้วย
ดู 2 มติที่ไม่เห็นด้วยการลา / ขาดลงมติ
ธิษะณาลา / ขาดลงมติในการลงมติ 2 มติ (12.5%) จากทั้งหมด 16 มติในฐานข้อมูล ซึ่งมากกว่าค่ากลางของสมาชิกในสภาทั้งหมด (ค่ากลาง = 3.33%)
หมายเหตุ : การขาดลงมติ เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ติดประชุมอื่น ติดภารกิจสำคัญ เจ็บป่วย จึงอาจไม่ได้สะท้อนความไม่รับผิดชอบเสมอไป
ดู 2 มติที่ขาดเว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ