ตั้ง กมธ. วิสามัญแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนอันเกิดจากลิง
ชื่อทางการ
ญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนอันเกิดจากลิงที่อาศัยอยู่ในบริเวณชุมชน สถานที่ท่องเที่ยวและพื้นที่เกษตรกรรมอย่างยั่งยืน
สรุปเนื้อหา
ปัญหาลิงเกลื่อนเมืองในปัจจุบัน เกิดจากการขยายตัวของชุมชนและพื้นที่ทำการเกษตรของราษฎรในปัจจุบัน ส่งผลกระทบโดยตรงต่อถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ที่อยู่ในพื้นที่ดังกล่าวก่อนการขยายตัวของชุมชน ปัจจุบัน มีหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องจำนวนมากที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว แต่เนื่องจากข้อจำกัดทางด้านงบประมาณ และการขาดการประสานงานเชื่อมโยงกันอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง ไม่มีแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกันระหว่างหน่วยงานอย่างเป็นระบบ จึงทำให้การแก้ไขปัญหาดังกล่าวไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้เท่าที่ควร จึงต้องเร่งพิจารณาหาแนวทางการร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่นในฐานะเจ้าของพื้นที่ กับหน่วยงานที่เกี่ยวกับปศุสัตว์
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
499
เห็นด้วย
162
ไม่เห็นด้วย
238
งดออกเสียง
0
ไม่ลงคะแนน
0
ลา / ขาดลงมติ
99
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
314 คน
236 คน
ไม่เห็นด้วย
1
236
77
เพื่อไทย
141 คน
109
32
ภูมิใจไทย
71 คน
1
62
8
พลังประชารัฐ
40 คน
29
11
รวมไทยสร้างชาติ
35 คน
19
16
ชาติไทยพัฒนา
10 คน
6
4
ประชาชาติ
9 คน
5
4
ชาติพัฒนากล้า
3 คน
2
1
เพื่อไทรวมพลัง
2 คน
2
ท้องที่ไทย
1 คน
1
พลังสังคมใหม่
1 คน
1
เสรีรวมไทย
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
183 คน
161 คน
เห็นด้วย
161
22
ก้าวไกล
146 คน
134
12
ประชาธิปัตย์
25 คน
19
6
ไทยสร้างไทย
6 คน
4
2
เป็นธรรม
2 คน
1
1
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ไทยก้าวหน้า
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
ใหม่
1 คน
1
* ข้อมูลการสังกัดพรรคและฝ่ายในสภาฯ ยึดตามข้อมูล ณ วันที่ลงมติ ซึ่งเป็นไปได้ว่าในวันนั้นมีอาจสส.ที่ไม่มีสังกัดพรรคร่วมลงมติ เพราะอาจอยู่ระหว่างการย้ายพรรคการเมือง หรือเพิ่งโดนขับออกจากพรรค เป็นต้น ตามรัฐธรรมนูญ 60 สส. ต้องสังกัดพรรคใหม่ภายใน 30 วัน ในกรณีที่ถูกขับออก และ 60 วันในกรณียุบพรรค ไม่เช่นนั้นจะพ้นสภาพ
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ