ร่าง พ.ร.บ. มาตรการปราบทุจริตของฝ่ายบริหาร (วาระ 1)
ชื่อทางการ
ร่างพระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
สรุปเนื้อหา
เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ โดยปรับปรุงอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐในส่วนที่เกี่ยวกับการทุจริตต่อหน้าที่ที่ต้องดำเนินการแทนตามที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมอบหมาย และในส่วนการประพฤติมิชอบที่เป็นหน้าที่และอำนาจโดยตรงของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามทุจริตในภาครัฐ แก้ไขเพิ่มเติมหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เช่น การเปิดเผยข้อมูลการดำเนินการของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ การขอหมายจับและควบคุมตัวผู้ถูกกล่าวหา กำหนดหลักเกณฑ์การแต่งตั้งที่ปรึกษาเพื่อช่วยเหลือในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ ปรับปรุงขั้นตอนและระยะเวลาไต่สวนและวินิจฉัยชี้มูลความผิดให้ชัดเจนยิ่งขึ้น และแก้ไขเพิ่มเติมการกำหนดความผิดและโทษกรณีการเปิดเผยข้อมูลที่ได้มาเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งนี้ เพื่อให้การดำเนินงานด้านการไต่สวนและการปฏิบัติต่าง ๆ ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐและสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐมีความชัดเจนยิ่งขึ้น
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
499
เห็นด้วย
414
ไม่เห็นด้วย
0
งดออกเสียง
0
ไม่ลงคะแนน
0
ลา / ขาดลงมติ
85
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
314 คน
255 คน
เห็นด้วย
255
59
เพื่อไทย
141 คน
124
17
ภูมิใจไทย
71 คน
65
6
พลังประชารัฐ
40 คน
26
14
รวมไทยสร้างชาติ
35 คน
26
9
ชาติไทยพัฒนา
10 คน
5
5
ประชาชาติ
9 คน
2
7
ชาติพัฒนากล้า
3 คน
3
เพื่อไทรวมพลัง
2 คน
2
ท้องที่ไทย
1 คน
1
พลังสังคมใหม่
1 คน
1
เสรีรวมไทย
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
183 คน
157 คน
เห็นด้วย
157
26
ก้าวไกล
146 คน
136
10
ประชาธิปัตย์
25 คน
15
10
ไทยสร้างไทย
6 คน
5
1
เป็นธรรม
2 คน
1
1
ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1
ไทยก้าวหน้า
1 คน
1
ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
ใหม่
1 คน
1
* ข้อมูลการสังกัดพรรคและฝ่ายในสภาฯ ยึดตามข้อมูล ณ วันที่ลงมติ ซึ่งเป็นไปได้ว่าในวันนั้นมีอาจสส.ที่ไม่มีสังกัดพรรคร่วมลงมติ เพราะอาจอยู่ระหว่างการย้ายพรรคการเมือง หรือเพิ่งโดนขับออกจากพรรค เป็นต้น ตามรัฐธรรมนูญ 60 สส. ต้องสังกัดพรรคใหม่ภายใน 30 วัน ในกรณีที่ถูกขับออก และ 60 วันในกรณียุบพรรค ไม่เช่นนั้นจะพ้นสภาพ
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ