ร่างข้อบังคับ สภาก้าวหน้า ครั้งที่ 1
ชื่อทางการ
ร่างข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร (วาระ 1)
สรุปเนื้อหา
ข้อเสนอเพื่อปรับปรุงกลไกการทำงานของสภาสนับสนุนให้ผู้แทนราษฎรทุกคน ทุกพรรค ทุกชุดความคิด ทำงานได้ดียิ่งขึ้นในการแข่งขันกันรับใช้ประชาชน ซึ่งสรุปเป็น 9 ข้อเสนอหลักในร่างข้อบังคับ ‘สภาก้าวหน้า’ เพื่อยกระดับประสิทธิภาพ เพิ่มความโปร่งใส รับประกันความเป็นธรรม และเชื่อมโยงประชาชน ดังนี้ 1) สภาฉับไว: ตัดกลไกที่ทำให้การพิจารณากฎหมายล่าช้าโดยไม่จำเป็น 2) สภามีความหมาย: เพิ่มกระทู้ถามสดนายกรัฐมนตรี โดยผู้นำฝ่ายค้านและสมาชิก 3) สภาเข้มแข็ง: ให้คณะกรรมาธิการที่สำคัญต่อการตรวจสอบมีประธานมาจากพรรคฝ่ายค้าน 4) สภาเปิดเผย: ถ่ายทอดสดการประชุมกรรมาธิการ เปิดเผยข้อมูลแบบวิเคราะห์ต่อได้ 5) สภาดิจิทัล: จัดทำระบบติดตามสถานะร่างกฎหมายและข้อปรึกษาหารือ 6) สภายุติธรรม: ลดดุลพินิจประธานสภาในการวินิจฉัยญัตติด่วน 7) สภาเสมอภาค: กำหนดไม่ให้มีการอภิปรายที่ยั่วยุให้เกิดการเลือกปฏิบัติ 8) สภาประชาชน: Fast Track กฎหมายที่เสนอโดยภาคประชาชน และเพิ่มสิทธิการเสนอญัตติ 9) สภาสากล: แปลกฎหมายทุกฉบับเป็นภาษาอังกฤษเพื่อเชื่อมโยงกับประชาคมโลก
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
998
เห็นด้วย
161
ไม่เห็นด้วย
456
งดออกเสียง
0
ไม่ลงคะแนน
6
ลา / ขาดลงมติ
375
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
สส.ฝ่ายรัฐบาล
627 คน
451 คน
ไม่เห็นด้วย
1
451
1
174
เพื่อไทย
282 คน
219
1
62
ภูมิใจไทย
141 คน
1
122
18
พลังประชารัฐ
80 คน
47
33
รวมไทยสร้างชาติ
70 คน
27
43
ชาติไทยพัฒนา
20 คน
11
9
ประชาชาติ
18 คน
12
6
ชาติพัฒนากล้า
6 คน
5
1
เพื่อไทรวมพลัง
4 คน
4
ท้องที่ไทย
2 คน
1
1
พลังสังคมใหม่
2 คน
2
เสรีรวมไทย
2 คน
1
1
สส.ฝ่ายค้าน
367 คน
201 คน
ลา / ขาดลงมติ
160
1
5
201
ก้าวไกล
293 คน
136
2
155
ประชาธิปัตย์
50 คน
14
1
2
33
ไทยสร้างไทย
12 คน
6
6
เป็นธรรม
4 คน
1
3
ครูไทยเพื่อประชาชน
2 คน
1
1
ไทยก้าวหน้า
2 คน
1
1
ประชาธิปไตยใหม่
2 คน
2
ใหม่
2 คน
1
1
* ข้อมูลการสังกัดพรรคและฝ่ายในสภาฯ ยึดตามข้อมูล ณ วันที่ลงมติ ซึ่งเป็นไปได้ว่าในวันนั้นมีอาจสส.ที่ไม่มีสังกัดพรรคร่วมลงมติ เพราะอาจอยู่ระหว่างการย้ายพรรคการเมือง หรือเพิ่งโดนขับออกจากพรรค เป็นต้น ตามรัฐธรรมนูญ 60 สส. ต้องสังกัดพรรคใหม่ภายใน 30 วัน ในกรณีที่ถูกขับออก และ 60 วันในกรณียุบพรรค ไม่เช่นนั้นจะพ้นสภาพ
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ