ข้อมูลพื้นฐาน
เพศ หญิง
การศึกษา- ปริญญาตรี สาขาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- 2557 รณรงค์ต่อต้านการรัฐประหารโดย คสช.
- 2559 ร่วมรณรงค์ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญเผด็จการทั่วประเทศ
- 2560 ร่วมก่อตั้ง “กลุ่มฟื้นฟูประชาธิปไตย” (DRG) รณรงค์ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน และการปฏิรูปสถาบันกษัตริย์
- 2560 รณรงค์เชิงนโยบายสิทธิมนุษยชนไทยกับรัฐบาลประเทศเนเธอร์แลนด์
- 2561 ร่วมกลุ่ม “คนอยากเลือกตั้ง” รณรงค์เรียกร้องให้มีการเลือกตั้งที่เที่ยงธรรม
- 2561 - 2563 ร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศรณรงค์และจัดอบรมสิทธิดิจิทัล และนโยบายความเสมอภาคระหว่างเพศ
- 2562 รณรงค์เชิงนโยบายสิทธิมนุษยชนไทยกับรัฐบาลกลางและรัฐสภาประเทศสหรัฐอเมริกา
- 2563 สมาชิก กมธ.วิสามัญพิจารณาศึกษาและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน และการลอบประทุษร้ายประชาชน
- 2563 อนุ กมธ. พิจารณาศึกษาและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน และการลอบประทุษร้ายประชาชน (ละเมิดสิทธิทางด้านการเมืองและละเมิดสิทธิทางด้านอื่น)
- 2563 เลขานุการประจำคณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน รัฐสภา
- 2563 - 2564 ร่วมกับ “ราษฎร” เพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์อยู่ใต้รัฐธรรมนูญ
ประวัติทางการเมือง
หมายเหตุ : ข้อมูลย้อนหลังถึงปี 2562
1 ตำแหน่งทางการเมือง
- สมาชิก สส. ชุดที่ 26 (พ.ค. 66 - ปัจจุบัน)
ประวัติการลงมติ
5 มติล่าสุด ที่ชลธิชาเห็นด้วย
- ร่าง พ.ร.บ. สมรสเท่าเทียม (วาระ 1) ผ่าน
- ร่าง พ.ร.บ. มาตรการปราบทุจริตของฝ่ายบริหาร (วาระ 1) ผ่าน
- ร่าง พ.ร.บ. ยกเลิกความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ผ่าน
- ตั้ง กมธ. วิสามัญแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนอันเกิดจากลิง ไม่ผ่าน
- ตั้ง กมธ. วิสามัญศึกษามาตรการควบคุมฝูงชน ไม่ผ่าน
2 มติล่าสุด ที่ชลธิชาไม่เห็นด้วย
ดู 2 มติที่ไม่เห็นด้วยการลา / ขาดลงมติ
ชลธิชาลา / ขาดลงมติในการลงมติ 3 มติ (18.75%) จากทั้งหมด 16 มติในฐานข้อมูล ซึ่งมากกว่าค่ากลางของสมาชิกในสภาทั้งหมด (ค่ากลาง = 3.33%)
หมายเหตุ : การขาดลงมติ เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ติดประชุมอื่น ติดภารกิจสำคัญ เจ็บป่วย จึงอาจไม่ได้สะท้อนความไม่รับผิดชอบเสมอไป
ดู 3 มติที่ขาดเว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ