นางสาว ธิษะณา ชุณหะวัณ

อยู่ในตำแหน่งทางการเมือง

ตำแหน่งปัจจุบัน

ดาวน์โหลดข้อมูล

ผลการลงมติรายคน

อัพเดตข้อมูล: 24 ต.ค. 2567

แชร์ประวัติ

ข้อมูลพื้นฐาน


เพศ หญิง

การศึกษา
  • ปริญญาตรี คณะศิลปศาสตรบัณฑิต สังคมศาสตร์ สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยนานาชาติมหิดล
  • ปริญญาโท MA in Public International Law, Human Rights concentration, SOAS university of London
อาชีพเดิม
  • ธุรกิจส่วนตัวด้านอสังหาริมทรัพย์
  • เลขานุการคณะกรรมการมูลนิธิการศึกษาเพื่อการพัฒนา (ทำงานด้านการศึกษาและการพัฒนาผู้ลี้ภัยและแรงงานข้ามชาติอยู่ที่อ.แม่สอด จ.ตากและอ.ตะกั่วป่า จ.พังงา)
  • กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายบางฉบับที่หมดความจำเป็นหรือซ้ำซ้อนกับกฎหมายอื่น
  • ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการการพัฒนาประสิทธิภาพการเลือกตั้งและการมีส่วนร่วมของประชาชน
  • ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการการศึกษาและพัฒนาคลองไทย
  • ผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่ม “รัฐธรรมนูญก้าวหน้า - CONLAB) รณรงค์ให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
  • ล่ามแปลภาษาอังกฤษ - ไทย National Health Service ณ กรุงลอนดอนประเทศอังกฤษ
  • เจ้าหน้าที่ทีมหุ้นส่วนและทีมสื่อสารองค์กรนานาชาติฟรีแลนด์ (องค์กรไม่แสวงหาผลกำไรด้านการต่อต้านการลักลอบการค้ามนุษย์และสัตว์ป่า อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม)
  • ผู้ช่วยผู้บริหารบริษัทอุดมธุรกิจจำกัด
  • ผู้ช่วยนักการทูต (internship) กองการเมืองและความมั่นคง กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ

ช่องทางติดต่อ

ประวัติทางการเมือง

หมายเหตุ : ข้อมูลย้อนหลังถึงปี 2562


1 ตำแหน่งทางการเมือง


2 พรรคที่เคยสังกัด

  • ประชาชน (ส.ค. 67 - ปัจจุบัน) ตำแหน่ง : สมาชิก (ส.ค. 67 - ปัจจุบัน)
  • ก้าวไกล (พ.ค. 66 - ส.ค. 67) ตำแหน่ง : สมาชิก (พ.ค. 66 - ส.ค. 67)

ประวัติการลงมติ


การลา / ขาดลงมติ

ธิษะณาลา / ขาดลงมติในการลงมติ 2 มติ (12.5%) จากทั้งหมด 16 มติในฐานข้อมูล ซึ่งมากกว่าค่ากลางของสมาชิกในสภาทั้งหมด (ค่ากลาง = 3.33%)

หมายเหตุ : การขาดลงมติ เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ติดประชุมอื่น ติดภารกิจสำคัญ เจ็บป่วย จึงอาจไม่ได้สะท้อนความไม่รับผิดชอบเสมอไป

ดู 2 มติที่ขาด
ดูการลงมติทั้งหมด

เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ

ข้อตกลงในการใช้งาน (Terms of Use)
ทางทีมมีความตั้งใจที่พัฒนาทุกโปรเจกต์ให้เป็น Open Source และเปิดข้อมูลเป็น Open Data ภายใต้ข้อตกลงในการใช้งาน (Terms of Use) หากมีข้อสงสัยต้องการสอบถามเพิ่มเติม ประสงค์แจ้งเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมข้อมูลเพื่อความถูกต้อง หรือมีข้อเสนอแนะใดๆ สามารถติดต่อได้ที่ [email protected]