ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ที่พรรคพลังประชารัฐเป็นผู้เสนอ (วาระ 1)
ชื่อทางการ
ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... วาระที่ ๑ นายวิเชียร ชวลิต กับคณะ เป็นผู้เสนอ
วันที่
24 ก.พ. 2565
ประเภทการประชุม
ประชุมร่วมกันของรัฐสภา
องค์ประชุม
สรุปเนื้อหา
"ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ที่พรรคพลังประชารัฐเป็นผู้เสนอ มีสาระสำคัญ คือ กำหนดให้ใช้ระบบเลือกตั้งแบบคู่ขนาน (มีบัตรเลือกตั้งสองใบ) แต่การคำนวณ ส.ส.แบบบัญชีรายชื่อให้คำนวณเฉพาะพรรคที่ได้จำนวน ส.ส. เป็นจำนวนเต็มแล้วเท่านั้น (ไม่มี ส.ส.ปัดเศษ) ส่วนการเลือกตั้ง ส.ส. กำหนดให้ หมายเลขผู้สมัครของ ส.ส.เขต และ ส.ส.บัญชีรายชื่อ ยังเป็นระบบต่างเขตต่างเบอร์ และพรรคที่จะส่ง ส.ส.บัญชีรายชื่อต้องส่งผู้สมัครแบบแบ่งเขตด้วย และการจัดการเลือกตั้งกำหนดให้มีคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำหน่วย 9 คน"
อัพเดตข้อมูล: 3 ก.ค. 2568
ผลการลงมติ
สรุปผลการลงมติ
สมาชิกสภา
722
เห็นด้วย
598
ไม่เห็นด้วย
26
งดออกเสียง
12
ไม่ลงคะแนนเสียง
0
ลา / ขาดลงมติ
86
งดออกเสียง vs. ไม่ลงคะแนน
ผลการลงมติรายสังกัด
*หมายเหตุ: ข้อมูลสังกัด ยึดตามวันที่ลงมติ
ไม่พบข้อมูล
211 คน
178 คน
เห็นด้วย
178
26
4
3

ไม่พบข้อมูล
196 คน
164
26
4
2

เศรษฐกิจไทย
14 คน
14

เราทำได้
1 คน
1
สส.ฝ่ายรัฐบาล
205 คน
169 คน
เห็นด้วย
169
28
5
3

พลังประชารัฐ
78 คน
67
11

ภูมิใจไทย
54 คน
50
4

ประชาธิปัตย์
43 คน
33
9
1

ชาติไทยพัฒนา
11 คน
9
2

พลังท้องถิ่นไท
4 คน
4

รวมพลัง
4 คน
3
1

ชาติพัฒนากล้า
3 คน
3

รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
2 คน
1
1

ประชาภิวัฒน์
1 คน
1

รวมแผ่นดิน
1 คน
1

ครูไทยเพื่อประชาชน
1 คน
1

ไทรักธรรม
1 คน
1

พลังธรรมใหม่
1 คน
1

ประชาธิปไตยใหม่
1 คน
1
สส.ฝ่ายค้าน
190 คน
166 คน
เห็นด้วย
166
15
9

เพื่อไทย
118 คน
107
11

ก้าวไกล
47 คน
45
2

เสรีรวมไทย
9 คน
9

เศรษฐกิจใหม่
6 คน
5
1

เพื่อชาติ
6 คน
5
1

ประชาชาติ
2 คน
2

พลังปวงชนไทย
1 คน
1

ไทยศรีวิไลย์
1 คน
1
สว.
116 คน
85 คน
เห็นด้วย
85
17
10
4
เว็บไซต์นี้สร้างโดย กลุ่มเทคโนโลยีภาคประชาชน (Civic Technology) ที่ขับเคลื่อนสังคมผ่านเทคโนโลยีและข้อมูลเปิด (Open Data) ภารกิจของเราคือการทำให้ประชาธิปไตยไทยเปิดเผย โปรงใส และมีส่วนรวมได้ เราจึงตั้งใจพัฒนาโปรเจกต์ Parliament Watch ให้เป็นแพลตฟอร์มที่เปิดช่องทางให้ประชาชนและสื่อมวลชนสามารถจับตาดูการทำงานของ ‘รัฐสภา’ โดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนในการดำเนินงานจาก National Endowment for Democracy (NED) Open Society Foundations และ กองทุนรวมธรรมาภิบาลไทย (CG Fund) ซึ่งนำมาใช้เป็นต้นทุนในการรวมรวมข้อมูล ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ประสานงาน บริหารจัดการ ตลอดจนการจัด Meetup เพื่อดำเนินโครงการ